Tuesday, August 10, 2010
Sunday, April 18, 2010
การเขียนโปรแกรม Check Digit
เขียนโปรแกรม Check Digit โดยใช้ vb.net
เริ่มแรกให้เราสร้าง Textbox สำหรับรับค่าของ เลข ซึ่งโปรแกรมนี้เราจะใช้กับเลขประจำตัวประชาชน
ทำการทดสอบโดยการใส่ตัวเลขแค่12 หลัก แล้วทำการ Check ตัวที่ 13
เมื่อกด button แล้วก็จะได้เลข 1 เป็นตัวที่ผ่านการเช็คเรียบร้อยแล้ว
ตัวสุดท้ายออกมา
เริ่มแรกให้เราสร้าง Textbox สำหรับรับค่าของ เลข ซึ่งโปรแกรมนี้เราจะใช้กับเลขประจำตัวประชาชน
จากนั้นให้ double click เข้าไปใน Button เพื่อทำการเขียนโปรแกรม ให้คำนวณ Check digit
เมื่อเราทำการรัน ก็จะได้ โปรแกรมที่เราต้องการเช็คขึ้นมาทำการทดสอบโดยการใส่ตัวเลขแค่12 หลัก แล้วทำการ Check ตัวที่ 13
เมื่อกด button แล้วก็จะได้เลข 1 เป็นตัวที่ผ่านการเช็คเรียบร้อยแล้ว
ตัวสุดท้ายออกมา
Saturday, April 17, 2010
การเช็ครหัสตัวท้ายสุดของ เลขบัตรประชาชน
การตั้งรหัสเลขบัตรประจำตัวประชาชนนั้น จะใช้การตรวจสอบข้อมูลโดยใช้ การ Check Digit
Modulus 10
กำหนดน้ำหนักให้หลักแต่ละหลักของตัวเลขที่ตั้งขึ้นมา โดย
ตำแหน่งเลขคี่ ให้ค่าเป็น 2
ตำแหน่งเลขคู่ ให้ค่าเป็น 1
นำตัวเลขแต่ละหลักไปคูณกับค่าน้ำหนักที่หาได้ในข้อ 1 ถ้ามีค่ามากกว่า 9
ให้นำหลักหน่วยกับสิบ บวกกันก่อน (เช่น คูณกันแล้วได้ 18 ก็นำ 1 + 8 ค่าที่ได้คือ 9)
บวกค่าที่ได้ของแต่ละหลักเข้าด้วยกัน
นำค่าที่ได้ หารด้วย 10 เหลือเศษเท่าไหร่ นำเศษนั้นไปลบออกจาก 10 อีกครั้ง
ผลลัพธ์ที่ได้คือ check digit ให้นำไปใส่ต่อท้ายชุดของตัวเลขนั้น

ตัวอย่าง รหัสต่างๆที่ใช้ MODULUS 10 ได้แก่
หมายเลขบัตรเครดิต
เลขสมุดบัญชีธนาคาร
เลขบัตรประจำตัวผู้เสียภาษีอากร
Modulus 11
กำหนดน้ำหนักโดยเริ่มจากหลักหน่วย โดยหลักหน่วยให้ค่าเริ่มต้นเป็น 2 ในหลักถัดไปก็บวก เพิ่มทีละ 1
นำตัวเลขแต่ละหลักไปคูณกับค่าน้ำหนักที่หาได้ในข้อ 1
บวกค่าที่ได้ของแต่ละหลักเข้าด้วยกัน
นำค่าที่ได้ หารด้วย 11 เหลือเศษ ให้นำเศษนั้นไปลบออกจาก 11
ถ้าลบแล้วมีค่าเป็น 10 นำ 0 ไปเป็น check digit ถ้ามีค่าเป็น 11
นำ 1 ไปเป็น check digit ถ้าต่างจากนี้นำค่านั้นไปเป็น check digit

รหัสต่างๆที่ใช้ MODULUS 11 เช่น
หมายเลข ISBN
เลขประจำตัวประชาชน
ข้อมูลเหล่านี้อ้างอิงมาจาก slide ของ อาจารย์เกษม กมลชัยพิสิฐ
Modulus 10
กำหนดน้ำหนักให้หลักแต่ละหลักของตัวเลขที่ตั้งขึ้นมา โดย
ตำแหน่งเลขคี่ ให้ค่าเป็น 2
ตำแหน่งเลขคู่ ให้ค่าเป็น 1
นำตัวเลขแต่ละหลักไปคูณกับค่าน้ำหนักที่หาได้ในข้อ 1 ถ้ามีค่ามากกว่า 9
ให้นำหลักหน่วยกับสิบ บวกกันก่อน (เช่น คูณกันแล้วได้ 18 ก็นำ 1 + 8 ค่าที่ได้คือ 9)
บวกค่าที่ได้ของแต่ละหลักเข้าด้วยกัน
นำค่าที่ได้ หารด้วย 10 เหลือเศษเท่าไหร่ นำเศษนั้นไปลบออกจาก 10 อีกครั้ง
ผลลัพธ์ที่ได้คือ check digit ให้นำไปใส่ต่อท้ายชุดของตัวเลขนั้น

ตัวอย่าง รหัสต่างๆที่ใช้ MODULUS 10 ได้แก่
หมายเลขบัตรเครดิต
เลขสมุดบัญชีธนาคาร
เลขบัตรประจำตัวผู้เสียภาษีอากร
Modulus 11
กำหนดน้ำหนักโดยเริ่มจากหลักหน่วย โดยหลักหน่วยให้ค่าเริ่มต้นเป็น 2 ในหลักถัดไปก็บวก เพิ่มทีละ 1
นำตัวเลขแต่ละหลักไปคูณกับค่าน้ำหนักที่หาได้ในข้อ 1
บวกค่าที่ได้ของแต่ละหลักเข้าด้วยกัน
นำค่าที่ได้ หารด้วย 11 เหลือเศษ ให้นำเศษนั้นไปลบออกจาก 11
ถ้าลบแล้วมีค่าเป็น 10 นำ 0 ไปเป็น check digit ถ้ามีค่าเป็น 11
นำ 1 ไปเป็น check digit ถ้าต่างจากนี้นำค่านั้นไปเป็น check digit

รหัสต่างๆที่ใช้ MODULUS 11 เช่น
หมายเลข ISBN
เลขประจำตัวประชาชน
ข้อมูลเหล่านี้อ้างอิงมาจาก slide ของ อาจารย์เกษม กมลชัยพิสิฐ
Monday, January 18, 2010
เรียนภาษาอังกฤษผ่านอีเมลล์ กับ msn
มาเรียนภาษาอังกฤษผ่าน e-mail กันเถอะ รับรองว่าเจ๋ง
http://englishtown.msn.co.th/online/home.aspx

สมัครกันได้เลยแล้วก็จะมี e-mail บทเรียนต่างๆให้เราได้ทุกวันเลยครับ ทางเวปนี้ก็มีให้เราทดสอบระดับความสามารถด้านภาษาอังกฤษของเราด้วยครับ เมื่อเราเข้าไปใน mail ของเรานะครับก็จะพบกับการทายคำศัพท์ทดสอบความรู้ของเรากันครับ จากนั้นก็มีให้เราได้เข้าสู่บทเรียน เพื่อเข้าไปฟังอ่านเขียนกันครับ
ลองทายคำศัพท์ดูกัน

เข้าสู่บทเรียนกันเลยครับ
http://englishtown.msn.co.th/online/home.aspx

สมัครกันได้เลยแล้วก็จะมี e-mail บทเรียนต่างๆให้เราได้ทุกวันเลยครับ ทางเวปนี้ก็มีให้เราทดสอบระดับความสามารถด้านภาษาอังกฤษของเราด้วยครับ เมื่อเราเข้าไปใน mail ของเรานะครับก็จะพบกับการทายคำศัพท์ทดสอบความรู้ของเรากันครับ จากนั้นก็มีให้เราได้เข้าสู่บทเรียน เพื่อเข้าไปฟังอ่านเขียนกันครับ
ลองทายคำศัพท์ดูกัน

เข้าสู่บทเรียนกันเลยครับ

Core Temp วัดอุณหภูมิคอมพิวเตอร์ของคุณ
โปรแกรม วัดความร้อนของ ซีพียู จากแกนโดยตรง ใช้ได้ฟรีนะครับ บางครั้งคอมพิวเตอร์ของเราอาจทำงานหนักไปลองมาดูกันซิว่าหากเราลองใช้ หนักๆ ความร้อนมีมาเท่าไร นี่เป็นเรื่อง ของผมเอง ผมใช้ lenovo G450 Core2 Duo 2.13 L2 cach 3Mb FSB 1066 ก็ไม่ร้อนเท่าไหร่นะครับ อยู่ในเกณฑ์ ปกติ ไม่ร้อนมากครับ ลองเอาไปทดสอบกันนะครับ

Download Core Temp

Download Core Temp
Subscribe to:
Posts (Atom)